ประวัติโดยสังเขปของการออกแบบการเรียนการสอน
INFOGRAPHIC
ประวัติโดยสังเขปของการออกแบบการเรียนการสอน
ประวัติโดยสังเขปของการออกแบบการเรียนการสอน
ใน
ต่างๆ แล้วต่อมาจึงมีความตื่นตัวในการเน้นการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้และการพัฒนาความสามารถให้เป็น
ส่วน
สำคัญของวัฒนธรรมในองค์กรนั้น
ต้นกำเนิด
การออกแบบการเรียนการสอน ครั้งแรกเริ่มขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อนักจิตวิทยาและนักศึก
ษา
จำนวนมากถูกเรียกตัวเพื่อพัฒนาเอกสารการฝึกอบรมและใช้ความรู้ในการประเมินผล
การเคลื่อนไหวการเรียนการสอนตามโปรแกรม - ช่วงกลางทศวรรษ 1950 ถึงกลางทศ
วรรษ
1960
1954 – B.F. Skinner ผ่านบทความ "The Science of Learning and the Art of Teaching" ผู้บุก
เบิก
แนวคิดเรื่อง บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Maching) และเครื่องช่วยสอน (Teaching
Learning)
เบิก
แนวคิดเรื่อง บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Maching) และเครื่องช่วยสอน (Teaching
Learning)
1956 - Bloomberg Benjamin ได้จำแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านพุทธิ
พิสัย
(Cognitive Domain) ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ด้านเจตพิสัย (Affective Domain)
พิสัย
(Cognitive Domain) ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) ด้านเจตพิสัย (Affective Domain)
ช่วงต้นทศวรรษที่ 1960 - Robert F. Mager เน้นถึงความสำคัญของพฤติกรรมที่ต้อง การสภาพ
การ
เรียนรู้และการประเมินผล ในการเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้
การทดสอบตามเกณฑ์ - ช่วงต้นทศวรรษที่ 1960
การ
เรียนรู้และการประเมินผล ในการเขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้
การทดสอบตามเกณฑ์ - ช่วงต้นทศวรรษที่ 1960
ในปีค.ศ. 1962 Robert Glaser ได้ใช้คำว่า "การทดสอบตามเกณฑ์" เพื่อประเมินพฤติกรรมในระ
ดับเริ่มต้น
ของนักเรียนและความสามารถหลังจากที่ได้ฝึกอบรม
ทฤษฎีเงื่อนไขการเรียนรู้ - 1965
ดับเริ่มต้น
ของนักเรียนและความสามารถหลังจากที่ได้ฝึกอบรม
ทฤษฎีเงื่อนไขการเรียนรู้ - 1965
ในปีค.ศ. 1965 Robert Gagne ได้ระบุหลักการสอน 9 ประการ ที่เน้นส่วนสำคัญมากในการเรียนรู้
ลำดับชั้น
และการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น
การเพิ่มขึ้นของความสนใจในวิธีระบบ - 1970s
ลำดับชั้น
และการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น
การเพิ่มขึ้นของความสนใจในวิธีระบบ - 1970s
หลายรูปแบบขึ้นอยู่กับข้อมูล-การประมวลผล-วิธีการ ได้รับการพัฒนาในทางทหาร สถาบันการศึก
ษาและ
องค์กรหลายแห่งได้ใช้สื่อเพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนการเกิด eLearning - ทศวรรษที่ 1980s
e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น
กระ
ทำผ่าน
ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำ
เข้าสู่
ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนออนไลน์ (On-line Learning)
เป็นต้น
ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในการสร้างสรรค์และความสำคัญของการปฏิบัติงาน - 1990s
ษาและ
องค์กรหลายแห่งได้ใช้สื่อเพื่อปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนการเกิด eLearning - ทศวรรษที่ 1980s
e-Learning คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น
กระ
ทำผ่าน
ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนำ
เข้าสู่
ตลาดเมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วยซีดีรอม, การเรียนออนไลน์ (On-line Learning)
เป็นต้น
ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในการสร้างสรรค์และความสำคัญของการปฏิบัติงาน - 1990s
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist Theory) เป็นทฤษฎีที่นำมาเป็นรากฐานสำคัญในการสร้าง
ความ
รู้ของผู้เรียน มีหลักการที่สำคัญว่า ในการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนลงมือกระทำในการสร้างความรู้ มิใช่รับ
ข้อมูล
หรือสารสนเทศ
และพยายามจดจำเท่านั้น
การเพิ่มขึ้นของการเรียนรู้ออนไลน์ - 2000s
ความ
รู้ของผู้เรียน มีหลักการที่สำคัญว่า ในการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนลงมือกระทำในการสร้างความรู้ มิใช่รับ
ข้อมูล
หรือสารสนเทศ
และพยายามจดจำเท่านั้น
การเพิ่มขึ้นของการเรียนรู้ออนไลน์ - 2000s
เมื่ออินเทอร์เน็ตถูกพัฒนาให้ดีขึ้นและการเพิ่มขึ้นของสื่อทางสังคมทำให้ การเรียนรู้ออนไลน์จึงเป็น
ไปได้
ที่จะมีความประหยัดและมีประสิทธิภาพปานกลาง
2010 และอื่น ๆ
ไปได้
ที่จะมีความประหยัดและมีประสิทธิภาพปานกลาง
2010 และอื่น ๆ
ในยุคนี้เป็นยุคของเทคโนโลยี ซึ่งมีการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งทางด้านสังคม จากสื่ออินเตอร์เนท
และ
ศึกษาด้วยตัวเอง มีการสร้างวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะกับความต้องการและความชอบของผู้เรียนแต่ละคน
ฏารเรียนรู้
ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้เหมาะกับบริบทผู้เรียนที่มีสภาพคล่องและเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
และ
ศึกษาด้วยตัวเอง มีการสร้างวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะกับความต้องการและความชอบของผู้เรียนแต่ละคน
ฏารเรียนรู้
ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้เหมาะกับบริบทผู้เรียนที่มีสภาพคล่องและเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น